Alpaca Finance
ไทย
ไทย
  • 🧭สารบัญ
  • 🦙Alpaca Finance
  • โปรโตคอลของเรา
    • 🏆ผลิตภัณฑ์ของเรา
    • 📈เป็นส่วนหนึ่งของ Alpaca Finance
      • ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ 6 กลยุทธง่ายๆในการลงทุนกับ Alpaca Finane
      • กลยุทธ์ที่ 1: ถือทรัพย์สินไว้และสร้างผลตอบแทนที่สูงด้วยความเสี่ยงที่ต่ำโดยการ lend และ stake
      • กลยุทธ์ที่ 2: ถือคู่เหรียญเพื่อได้รับผลตอบแทนทบต้นโดยไม่มีการ leverage
      • กลยุทธ์ที่ 3: เพิ่มผลตอบแทนจาก stablecoin ของคุณ
      • กลยุทธ์ที่ 4: สร้างผลตอบแทนเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในตลาดกระทิง (Bull Market)
      • กลยุทธ์ที่ 5: สร้างกำไรจาก Yield Farm ในตลาดหมี (Bear Market)
      • กลยุทธ์ที่ 6: สร้างผลตอบแทนอย่างทวีคูณในทุกๆสภาพตลาดโดยการป้องกันความเสี่ยง
    • 🗺️แผนการทำงาน
    • 🔒ความปลอดภัย
    • 📄ความโปร่งใส (การ audit และ contracts)
    • 🔗ลิงค์
    • 📰สื่อที่ครอบคลุม
    • ❤️การกุศล
    • 🌐พารามิเตอร์สากลของโปรโตคอล
      • ⏫พารามิเตอร์ของ Leveraged Yield Farming
      • 📈โมเดลอัตราดอกเบี้ยกู้ยืม AF1.0
      • 📖พารามิเตอร์ของ Automated Vault
      • 📗พารามิเตอร์ของ Perpetual Futures Exchange
      • 📙พารามิเตอร์ของ AF2.0
  • เกี่ยวกับโทเค็น
    • 📀เหรียญ ALPACA
    • 💰เหรียญ ib
    • ⚖️การจัดสรรรีวอร์ดของ Pool
    • 🔥หลักฐานการเผาเหรียญ
      • รายละเอียดแหล่งที่มาของการเผาเหรียญ
  • Lending
    • 🏦แนะนำเกี่ยวกับ Lending
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • การ Lend และ Stake
      • การถอนสินทรัพย์
  • leveraged yield farming
    • 🚀แนะนำเกี่ยวกับ Leveraged Yield Farming
    • 🏊พารามิเตอร์เฉพาะ Pool
      • PancakeSwap Pools
      • Mdex Pools
      • Biswap Pools
      • SpookySwap Pools (เลิกใช้แล้ว)
      • WaultSwap Pools (เลิกใช้แล้ว)
    • 🧮กลไกของ Leveraged Yield Farming
      • ฟาร์ม PancakeSwap
      • ฟาร์ม Mdex
      • ฟาร์ม Biswap
      • ฟาร์ม SpookySwap (เลิกใช้แล้ว)
      • ฟาร์ม WaultSwap (เลิกใช้แล้ว)
    • 🌊การบังคับชำระหนี้ของ AF1.0 (AF1.0 Liquidation)
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • การเปิด position ยีลด์ฟาร์มด้วยการใช้เลเวอเรจ (Leveraged Yield Farming)
      • การปรับระดับเลเวอเลจ Position
      • การปิด position บางส่วน/ทั้งหมด ใน Leveraged Yield Farming
      • การรับผลตอบแทน
      • การบังคับชำระหนี้ Positions (Liquidate)
  • Automated Vaults
    • ⚙️แนะนำเกี่ยวกับ Automated Vaults
      • กลยุทธ์ Market-Neutral
      • กลยุทธ์ Savings Vault
    • 🧮กลไกของการ Hedge
    • ⏬กลไกการลด Leverage ของ Vault
    • 🔏Automated Vault ส่วนตัว
    • 📈ผลการทดสอบ Backtest
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • ลงทุนใน Automated Vault
      • ดู position การลงทุนใน Vault อัตโนมัติ
      • ถอนการลงทุนจาก Vault อัตโนมัติ
  • Perpetual Futures Exchange
    • 🔮แนะนำเกี่ยวกับ Perpetual Futures Exchange
      • Trader
      • Liquidity Provider
    • 🚀แผนการเปิดตัว
    • 💲โปรแกรมส่วนลดค่าธรรมเนียมการเทรด
    • 🎁โปรแกรมการแนะนำเพื่อน
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • เปิด Leveraged Position
      • จัดการ Leveraged Position
      • ปิด Leveraged Position
      • แลกเปลี่ยนสินทรัพย์
      • ลงทุน & Stake โทเค็น ALP
      • Unstake & ถอนเงินจากโทเค็น
  • Alpaca Finance 2.0
    • 💎แนะนำเกี่ยวกับ Alpaca Finance 2.0
      • Money Market
      • Leveraged Yield Farming
    • 🚀แผนการเปิดตัว
    • ⭐รางวัลสิ่งจูงใจ
    • 🌊การบังคับชำระหนี้ของ AF2.0 (AF2.0 Liquidation)
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้น
      • ฝาก
      • กู้
      • ชำระหนี้
      • ถอน
      • โอนเงินระหว่างบัญชี
      • กลยุทธ์การลูป
  • การกำกับดูแล
    • 🗳️Governance Vault
    • 🍃เกรซซิ่งเรนจ์ (Grazing Range) (แบบใหม่)
    • ⚡การถอนล่วงหน้า
    • 🔎รายละเอียดแหล่งที่มาของผลตอบแทนใน Governance
    • 📝การปรึกษาหารือเรื่องการกำกับดูแลและการโหวต
    • 🗒️ข้อมูลของ AIP (Alpaca Improvement Proposal)
      • AIP-1: การจัดการรางวัล ITAM
      • AIP-2: Governance Vault บน Fantom
      • AIP-3: การรับมือค่าเสียหายจากการถอนเงินล่วงหน้าใน Governance Vault
      • AIP-4.1: การรับมือหนี้เสียที่พึ่งเกิดบน position ของ WaultSwap
      • AIP-4.2: วิธีการกำจัดความเสี่ยงที่จะเกิดหนี้เสียที่เกิดจาก positions ที่เหลืออยู่บน Waultswap
      • AIP-5: การปรับโมเดลอัตราเงินกู้
      • AIP-6.1: การจำกัดการเข้าถึง Automated Vault
      • AIP-6.2: การจำกัดการเข้าถึง Automated Vault
      • AIP-7: การรับมือหนี้เสียที่พึ่งเกิดบน Fantom Network
      • AIP-8.1: การเพิ่มประโยชน์ของ AUSD โดยการเพิ่มสิทธิ์ในการเข้าถึง high-leveraged AVs
      • AIP-8.2: การเพิ่มประโยชน์ของ AUSD โดยการเพิ่มสิทธิ์ในการเข้าถึง high-leveraged AVs
      • AIP-9: การฝากกองทุนการชำระหนี้เข้าไปในพูลเงินฝากในระหว่างการรอ buyback
      • AIP-10: เพิ่มประสิทธิภาพให้กับความชันของอัตราดอกเบี้ยกู้ยืม
      • AIP-11: การปรับค่าธรรมเนียมการพยุงราคาสำหรับ AUSD เพื่อช่วยให้ราคาถูกตรึง
      • AIP-12: การรับมือหนี้เสียที่พึ่งเกิดจากการ depeg ของ stkBNB
      • AIP-13: การนำข้อจำกัด xALPACA ในการลงทุนใน high-leveraged Automated Vaults ออก
      • AIP-14: ปิด LYF positions ที่เหลืออยู่ในพูล stkBNB-BNB เพื่อหลีกเลี่ยงหนี้เสียที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
      • AIP-15.1: สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (Perp, AF2.0)
      • AIP-15.2: วิธีการแจกจ่าย - สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (Perp, AF2.0)
      • AIP-15.3: มูลค่าสิ่งจูงใจสำหรับ Perp - สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (Perp)
      • AIP-15.4: มูลค่าสิ่งจูงใจสำหรับ AF2.0 - สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (AF2.0)
      • AIP-15.5: แหล่งที่มาสำหรับสิ่งจูงใจ - สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (Perp, AF2.0)
      • AIP-16: การปรับอัตราการกู้ยืมที่สูงที่สุดบน Slope3
      • AIP-17: การรับมือโทเค็น ALPACA ส่วนเกินจากสิ่งจูงใจใน AIP-15
      • AIP-18: การนำ Leveraged Yield Farming สำหรับ pools ใน MDEX ออก
      • AIP-19: การใช้งาน Shielded Voting
      • AIP-20: การทำให้โครงสร้างค่าธรรมเนียมการฝากของ AF1.0 สอดคล้องกับของ AF2.0
      • AIP-21.1: การะปรับวิธีการรับมือหนี้เสียจากเหตุการณ์ stkBNB depeg
      • AIP-21.2: การะปรับวิธีการรับมือหนี้เสียจากเหตุการณ์ stkBNB depeg
      • AIP-22: งบการตลาดสำหรับ AF2.0 และ Alperp
      • AIP-23: ปิด Leveraged Yield Farming สำหรับ TUSD
      • AIP-24.1: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่
      • AIP-24.2: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่ - ระยะเวลาการปลดล็อค
      • AIP-24.3: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่ - การโอนย้าย
      • AIP-24.4: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่ - การถอนล่วงหน้า
      • AIP-24.5: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่ - โมเดลการถอนล่วงหน้า
      • AIP-25: การย้ายจาก AF1.0 -> AF2.0
      • AIP-26: การย้าย Governance Vault
      • AIP-27: การอัพเดทแผนประกัน Alpaca
      • AIP-28: การอัพเดทโครงสร้างการโหวต Governance
      • AIP-29.1: การแลกเปลี่ยน BUSD ที่เหลืออยู่ใน AF1.0 เป็น USDT
      • AIP-29.2: คิดค่าธรรมเนียมการแลกเปลี่ยนจากผู้ฝาก BUSD ที่เหลืออยู่
      • AIP-29.3: กำหนดค่าธรรมเนียมการแลกเปลี่ยน
      • AIP-30: ข้อเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ - Stablecoin
      • AIP-31.1: การจัดการทรัพย์สินที่เหลือใน AUSD’s stable swap module
      • AIP-31.2: การจัดการทรัพย์สินที่เหลือใน AUSD’s stable swap module
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • ล็อค ALPACA ใน Governance Vault
      • การล็อค ALPACA เพิ่ม/การเพิ่มระยะเวลาการล็อค
      • การรับรางวัลจาก Governance Vault
      • การเพิ่มรายการเหรียญโทเค็นใน MetaMask ของคุณ
      • วิธีการโหวต Alpaca Improvement Proposal (AIP)
      • การถอน ALPACA ล่วงหน้าออกจาก Governance Vault
      • การถอน ALPACA จาก Governance บน BNB Chain
      • การถอน xALPACA จาก Governance Vault แบบเก่า
  • Join the herd (Alpacareers)
    • 🚀เรากำลังเปิดรับสมัคร!
  • ALPIES
    • 🌗แนะนำเกี่ยวกับ Alpies
    • 🧑‍🏫การ Bridge Alpies
      • การ Bridge Alpies จาก ETH ไปสู่ BNB Chain
      • การ Bridge Alpies จาก BNB Chain ไปสู่ ETH
    • ⚡การเพิ่ม Leveraged
  • ศูนย์ช่วยเหลือ
    • 👩‍🏫อัลปาก้า อะคาเดมี่ (Alpaca Academy)
      • บทที่ 0: วิธีซื้อ Alpaca และเริ่มรับผลตอบแทนสำหรับมือใหม่ (การให้กู้+การ stake)
      • บทที่ 1: กรณีการใช้งานเฉพาะของ Alpaca Finance - ชอร์ตเพื่อทำกำไร
      • บทที่ 2 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ hedge ด้วยการกู้ยืมสองด้าน (Double-sided Borrowing)
      • บทที่ 3 - ความเสี่ยงการโดนบังคับชำระหนี้ใน Leveraged Yield Farming
      • บทที่ 4 การเปิดและปิด position โดยไม่เสียค่า swap fee
      • บทที่ 5 - ความจริงเกี่ยวกับ Impermanent Loss และสิ่งที่คนส่วนใหญ่เข้าใจผิด
      • แบบทดสอบความรู้ (และรับรางวัล NFTs)
    • 📚บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป
      • เรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์และความปลอดภัยในโลก DeFi
      • Yield Farming และ Liquidity Mining: กลไกขับเคลื่อนการเติบโตของ DeFi
      • การใช้เครื่องมือ DeFi ขั้นสูงเพื่อการสะสมทรัพย์สินให้เติบโตและปลอดภัยด้วย Alpaca Finance
    • ❓คำถามที่พบบ่อย
    • 🧰เครื่องมือที่มีประโยชน์
    • 📘คำศัพท์สำคัญและวิธีการคำนวณ
      • 🧮การคำนวณ APY
      • 📈การคำนวณ กำไร/ขาดทุน
    • ⚠️ข้อความ Error ทั่วไป
    • 💸โอกาสในการหาผลตอบแทนเป็น ALPACA บนแพลตฟอร์มอื่น
  • นักพัฒนา
    • 🐞โปรแกรม Bug Bounty
    • 🎛️การกำหนดค่าโปรโตคอล
    • 💻เชื่อมต่อกับ Alpaca Finance
    • 🏛️คู่มือการ Repurchase AF2.0
    • ⚡คู่มือการ Flashloan AF2.0
  • ผลิตภัณฑ์ในอดีต
    • 💵AUSD (แบบเก่า)
      • 💵แนะนำเกี่ยวกับ AUSD
      • 💹วิธีการเข้าร่วม
      • 💦การบังคับชำระหนี้ของ AUSD (Liquidation)
      • 〰️กลไกการรักษาความเสถียรในราคาของ AUSD (AUSD Price Stability Module)
      • ❗ความเสี่ยง
      • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
        • เปิด AUSD position
        • การปรับ AUSD Position
        • ปิด AUSD position ทั้งหมด/ปิด AUSD position บางส่วน
        • เพิ่ม/ถอน AUSD-3EPS LP tokens
      • 📔พารามิเตอร์ของ AUSD
    • 🗳️Governance Vault (แบบเก่า)
    • ⚡การถอนล่วงหน้า (แบบเก่า)
    • 🌿เกรซซิ่งเรนจ์ (Grazing Range) (แบบเก่า)
    • 💪Stronk Vault
Powered by GitBook
On this page
  • 1. ระดับของสินทรัพย์เพื่อการจัดการความเสี่ยงที่ดีขึ้น
  • 2. โมเดลอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมที่ยืดหยุ่น
  • 3. ความจุของมูลค่าการค้ำประกัน/มูลค่ากู้การสินทรัพย์
  • 4. การชะลอการตรวจสอบสัดส่วนหนี้
  • 5. การกำหนดวิธีการบังคับชำระหนี้

Was this helpful?

  1. Alpaca Finance 2.0
  2. แนะนำเกี่ยวกับ Alpaca Finance 2.0

Money Market

ในเวอร์ชั่นแรกของ Alpaca Finance สินทรัพย์ใน lending vaults นั้นถูกจำกัดเฉพาะการกู้เพื่อนำไปใช้ในผลิตภัณฑ์ leveraged yield farming เท่านั้น AF2.0 จะเพิ่มความหลากหลายและศักยภาพในการสร้างรายได้ให้กับ lending vaults ของเรา โดยการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้เงินทุนให้ได้มากขึ้นและเพิ่มกรณีการใช้งานสำหรับเงินทุนของเรา

ตัวอย่างแรกของการใช้งาน AF2.0 คือการยืมโดยที่ต้องมีสินทรัพย์ค้ำประกันเกิน (over-collateralized lending) เพื่อที่จะสามารถใช้เงินกู้ภายนอกได้ คล้ายกับแพลตฟอร์มกู้เงินอื่นๆเช่น Venus และ Compound นี่หมายความว่าผู้กู้สามารถกู้เงินจาก lending vault ได้แล้ว ซึ่งเป็นกรณีการใช้งานที่หลายคนเรียกร้องมา

สัญญา AF2.0 นั้นทำให้สภาพคล่องในพูลกู้ยืมถูกนำไปใช้ในกรณีการใช้งานที่ถูก whitelist ได้ นอกเหนือจาก over-collateralized lending และ LYF ซึ่งเป็นสิ่งที่จะช่วยเพิ่มรายได้และประสิทธิภาพของเงินทุนสำหรับผู้ฝาก รวมไปถึงรายได้สำหรับ xALPACA ด้วย สิ่งนี้รวมไปถึงผลิตภัณฑ์และการร่วมมือกันระหว่างโปรโตคอลที่ยังไม่เปิดเผยอีกด้วย โดยสรุปแล้วการอัพเกรดครั้งนี้จะทำให้แพลตฟอร์ม Alpaca มีความยืดหยุ่นที่มากขึ้นทั้งภายในแล้วภายนอก

เพราะฉะนั้นเรามาเริ่มกันที่ข้อดีของ money market ก่อน

1. ระดับของสินทรัพย์เพื่อการจัดการความเสี่ยงที่ดีขึ้น

สินทรัพย์ทุกชนิดจะสามารถนำไปฝากและถูกกู้ได้ อย่างไรก็ตามสินทรัพย์แต่ละชนิดจะถูกจัดหมวดหมู่ให้อยู่หนึ่งในสามระดับขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของสินทรัพย์แต่ละชนิด โดยที่แต่ละระดับจะมีข้อจำกัดที่ต่างกันเพื่อที่จะจัดการความเสี่ยงได้ดีขึ้น

  • Collateral tier: สามารถใช้เป็นสินทรัพย์ค้ำประกันเพื่อกู้สินทรัพย์อื่นๆได้ สามารถถูกกู้พร้อมกับสินทรัพย์อื่นๆได้ (ใน position หนึ่งกลุ่ม หรือเรียกอีกอย่างว่าบัญชีรอง) ระดับนี้นั้นจะถูกสำรองไว้สำหรับสินทรัพย์คริปโต "blue-chip" ที่มีความปลอดภัยมากที่สุด

  • Cross tier: ไม่สามารถนำไปใช้เป็นสินทรัพย์ค้ำประกันเพื่อกู้สินทรัพย์อื่นๆได้ แต่มันสามารถถูกยืมพร้อมกับสินทรัพย์ชนิดอื่นๆได้ (ในบัญชีรองหนึ่งสามารถมีสินทรัพย์ที่ถูกกู้ได้หลากหลาย)

  • Isolation tier: ไม่สามารถนำไปใช้เป็นสินทรัพย์ค้ำประกันเพื่อกู้สินทรัพย์อื่นๆได้ และมันสามารถถูกกู้ใน positions (isolated positions) ที่แยกออกมาได้ แต่ไม่สามารถกู้สินทรัพย์อื่นๆได้

*Positions ทุกระดับสามารถมีสินทรัพย์ค้ำประกันได้หลายชนิด

โครงสร้างนี้ทำให้สามารถนำเหรียญขึ้นกระดาน lending โดยไม่ต้องผ่านการอนุมัติ (permissionless listing) (เฉพาะใน Isolation tier) สำหรับสินทรัพย์อะไรก็ตามบนแพลตฟอร์มเรา ซึ่งจะทำให้ lending ของ Alpaca มีศักยภาพในการเติมโตที่ไม่สิ้นสุด ผู้ใช้งานสามารถกู้ altcoins ได้หลากหลาย เปรียบดั่งสวรรค์ของผู้ที่ชอบเปิด short position

ในขณะเดียวกัน โมเดลนี้ยังเป็นมาตรการความปลอดภัยสำหรับผู้ใช้งานและผู้ฝากของเรา (เพราะว่า Isolation และ Cross tier ไม่อนุญาติให้ผู้ใช้งานใช้สินทรัพย์ tier เหล่านี้เป็นสินทรัพย์ค้ำประกัน)

2. โมเดลอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมที่ยืดหยุ่น

ใน Alpaca Finance เวอร์ชั่นแรกนั้นโปรโตคอลถูกจำกัดในการใช้อัตราดอกเบี้ยกู้ยืมแบบเดียวในการกู้ยืม ข้อจำกัดนี้ทำให้เราไม่สามารถที่จะปรับอัตราดอกเบี้ยในระดับย่อยได้ เช่น การใช้อัตราดอกเบี้ยที่ต่างกันในแต่ละพูล LYF ในอนาคต AF2.0 เราสามารถที่จะกำหนดโมเดลอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมได้อย่างอิสระตามแต่ละสินทรัพย์และกรณีการใช้งาน ซึ่งทำให้เราสามารถกำหนดตามสถานการณ์ได้เพื่อให้ทุกพูลและผลิตภัณฑ์ทำงานได้และมีกำไร!

วิธีนี้จะมีผลที่ระดับย่อยสำหรับแต่ละพูลในผลิตภัณฑ์เดียวกัน ตัวอย่างเช่นเราสามารถที่จะปล่อยอัตราดอกเบี้ยที่ถูกลงสำหรับพูลที่มีความผันผวนน้อยเช่น พูล stablecoin-stablecoin (ซึ่งมี TVL ที่สูงมากในอดีตเมื่อ APYs นั้นสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยกู้ยืม แต่ตอนนี้มี TVL ที่น้อยกว่าเดิมเพราะว่าอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมที่มีแบบเดียวนั้นสูงเมื่อเทียบกับ APYs)

เราสามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยให้เหมาะกับสถานการณ์และผลิตภัณฑ์แต่ละอย่างได้ ตัวอย่างเช่น การยืม BNB โดยที่ต้องมีสินทรัพย์ค้ำประกันเกิน BNB สามารถมีโมเดลอัตราดอกเบี้ยแบบหนึ่ง ในขณะที่การยืม BNB สำหรับ LYF ใช้โมเดลอีกแบบหนึ่งที่มีอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกัน การกู้ยืมสำหรับ AVs สามารถที่จะมีโมเดลอีกแบบหนึ่งเลย

โดยสรุปแล้วความยืดหยุ่นที่เพิ่มขึ้นมานี้ทำให้เราสามารถตั้งอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมให้ขึ้นอยู่กับพูลและความเสี่ยงของแต่ละผลิตภัณฑ์, อุปสงค์, และพฤติกรรมของนักลงทุน วิธีการนี้จะทำให้ระบบโดยรวมมีประสิทธิภาพที่มากขึ้นสำหรับผู้มีส่วนร่วมทุกคน และเปิดโอกาสให้เราสามารถสร้างกำไรแบบใหม่ได้อีกหลากหลายวิธีเพื่อผู้ใช้งานทุกคนผ่านการปรับที่เรียบง่าย มันยังจะสร้างสถานการณ์ที่ดีที่สุดในการเพิ่มการใช้งานของแต่ละผลิตภัณฑ์ ซึ่งทำให้มีรายได้สำหรับ ALPACA governance stakers ที่มากขึ้น

3. ความจุของมูลค่าการค้ำประกัน/มูลค่ากู้การสินทรัพย์

AF2.0 จะใช้วิธีการคำนวณแบบสองข้างสำหรับ Safety Buffer (บัฟเฟอร์เพื่อความปลอดภัย) และ Collateral Factor (ส่วนประกอบสินทรัพย์ค้ำประกัน) ในการคำนวณ ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถลดความเสี่ยงสำหรับผู้ปล่อยกู้และผู้ถือสินทรัพย์ โดยการที่แยกความเสี่ยงของแต่ละสินทรัพย์ ด้วยวิธีนี้สินทรัพย์แต่ละชนิดจะมีสองค่า: Borrow Factor (ส่วนประกอบการกู้) และ Collateral Factor (ส่วนประกอบสินทรัพย์ค้ำประกัน) ดังนั้นโปรโตคอลจะสามารถคำนวณความเสี่ยงของ position ได้ดีขึ้นโดยใช้วิธีการคำนวณนี้:

  1. มูลค่าความเสี่ยงของหนี้: มูลค่าของหนี้ของผู้กู้ (มูลค่าที่ถูกกู้) สามารถมีน้ำหนักมากขึ้นได้ตามความเสี่ยงของสินทรัพย์ที่ถูกกู้แต่ละชนิด ซึ่งดูได้จาก Borrow Factor ของสินทรัพย์นั้นๆ

  2. มูลค่าความเสี่ยงของสินทรัพย์ค้ำประกัน: มูลค่าของสินทรัพย์ค้ำประกันสามารถมีน้ำหนักลดลงได้ตามความเสี่ยงของสินทรัพย์ค้ำประกันแต่ละชนิด ซึ่งดูได้จาก Collateral Factor ของสินทรัพย์นั้นๆ

*โปรดทราบไว้ว่าตัวประกอบที่ไว้ใช้คำนวณมูลมสี่ยงของแต่ละสินทรัพย์จะไม่ถูกเปลี่ยนบ่อยหรือถ้าไม่มีเหตุผลจำเป็น ถึงแม้ว่า Borrow Factor และ Collateral Factor จะถูกปรับบ้างเป็นบางครั้งผ่านการโหวตถ้าความเสี่ยงของสินทรัพย์แต่ละชนิดเปลี่ยนไป ตัวประกอบจะถูกตั้งค่าเป็นตัวแปลใน smart contracts ซึ่งจะเปิดเผยต่อสาธารณะและถูกอัพเดทบน docs ของเรา ซึ่งสามารถคาดได้ว่าตัวเลขส่วนใหญ่จะมีค่าคงที่

วิธีการนี้จะเพิ่มความปลอดภัยให้กับโปรโตคอลเพราะว่ามันจะทำให้ AF2.0 แยกตัวประกอบความเสี่ยงของแต่ละสินทรัพย์สำหรับการเคลื่อนไหวทางราคาทั้งขาขึ้นและขาลงได้ ความเสี่ยงเหล่านี้จะถูกเก็บเป็นส่วนประกอบสินทรัพย์ค้ำประกัน (เฉกเช่น Compound) และส่วนประกอบการกู้ ทั้งนี้วิธีการนี้จะทำให้เพดานหนี้ (liquidation threshold) ของแต่ละ position ขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของสินทรัพย์โดยรวมที่เกี่ยวข้องกับ position นั้น

ตัวอย่าง:

อลิซมี USDC มูลค่า $1,000 และต้องการที่จะกู้ BNB เธอจะสามารถกู้ได้เท่าไหร่?

ถ้า USDC มีค่า collateral factor ที่ 0.9 และ BNB มีค่า borrow factor ที่ 0.7 ดังนั้นผู้ใช้งานสามารถกู้ได้มากถึง $1,000 * 0.9 * 0.7 = $630 ในหน่วย BNB ด้วยการกู้ระดับนี้ มูลค่าความเสี่ยงของสินทรัพย์ค้ำประกันจะมีมูลค่า $1,000 / 0.9 = $900 และมูลค่าความเสี่ยงของหนี้จะมีมูลค่า $630 / 0.7 = $900 ถ้าราคา BNB ขึ้น มูลค่าความเสี่ยงของหนี้ของเธอก็จะเพิ่มขึ้นเป็น >$900 และ position จะถูกบังคับชำระหนี้ buffer สำหรับการบังคับชำระหนี้ (ก่อนที่จะเกิดหนี้เสีย) จะเท่ากับ $1,000 - $630 = $370

4. การชะลอการตรวจสอบสัดส่วนหนี้

เราได้ออกแบบโครงสร้างในการใช้ money market บน smart contracts ให้มีความหลากหลาย การพัฒนานี้จะทำให้ผู้ใช้งานมีกรณีการใช้งานที่หลากหลายมากขึ้น, กำหนดค่าความเสี่ยงทางราคาใน positions ของตนเองได้, และกลยุทธ์การใช้งานขั้นสูง การอัพเดทครั้งนี้ไม่ใช่ส่วนที่เด่นมากใน smart contract แต่การตรวจสอบสัดส่วนหนี้นี้จะเพิ่มประสิทธิภาพให้ผู้ใช้งานอย่างมาก

มาดูวิธีการทำงานของมันกัน โดยปกติแล้วสัดส่วนหนี้ของแต่ละบัญชีจะถูกตรวจสอบทันทีหลังจากที่มีการทำธุรกรรมที่อาจล้มเหลวเนื่องจากสินทรัพย์ค้ำประกันที่ไม่เพียงพอซึ่งจะทำให้ธุรกรรมนั้นไม่เป็นผล การทำธุรกรรมเหล่านี้รวมไปถึงการกู้, การถอนสินทรัพย์ค้ำประกัน, หรือการปิด position

ในขณะเดียวกันสัญญาของ AF2.0 นั้นถูกเขียนในแบบที่ชะลอการตรวจสอบสัดส่วนหนี้ซึ่งจะทำให้สามารถทำธุรกรรมหลายอย่างก่อนที่จะเกิดการตรวจสอบสัดส่วนหนี้ในขั้นสุดท้ายได้

การเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยนี้ทำให้บรรลุอะไรบ้าง? เรามาดูตัวอย่างเพื่อความเข้าใจที่มากขึ้นกัน

ถ้าไม่มีการชะลอการตรวจสอบสัดส่วนหนี้ ผู้ใช้งานจำเป็นต้องฝากสินทรัพย์ค้ำประกันก่อนที่เงินกู้จะถูกปล่อย ในทางตรงกันข้ามถ้าการตรวจสอบสัดส่วนหนี้ถูกชะลอ ผู้ใช้งานสามารถทำธุรกรรมหลายๆอย่างก่อนที่จะถูกตรวจสอบสัดส่วนหนี้ได้ เช่น พวกเขาสามารถกู้ ETH และขายมันเป็น USDC (short ETH) และใส่ USDC เป็นสินทรัพย์ค้ำประกันกลับเข้าไปใน Money Market เพื่อกู้ BTC แล้วฝากมันเข้าไปใน lending vault (long BTC) เพื่อรับผลตอบแทน (วิธีนี้จะเป็นการลดความเสี่ยงด้านราคาโดยการเดิมพันว่า ETH จะมีราคาลดลงเมื่อเทียบกับ BTC) ในตัวอย่างกลยุทธ์นี้ได้มีการใช้สินทรัพย์ทั้งหมดสามอย่าง แต่จริงๆแล้วสามารถใช้เท่าไหร่ก็ได้

หรือว่าพวกเขาสามารถใช้กลยุทธ์ในทางตรงข้ามกับวิธีข้างต้นก็ได้โดยการ กู้ BTC, ขายเป็น ETH (short BTC), และใช้ ETH เพื่อเปิด 3x LYF position แล้วรอรับผลตอบแทน (long ETH แบบใช้ leverage)

และวิธีการข้างต้นเป็นเพียงสองวิธีจากวิธีการใช้งานที่หลากหลายอีกมาก

โดยสรุปแล้วสิ่งนี้จะทำให้สามารถทำธุรกรรมที่มีความซับซ้อนบนสัญญา money market ในธุรกรรมเดียวได้ ซึ่งจะช่วยลดค่าแก๊ส, สร้าง UX ที่ดีขึ้น, และปลดล็อคกรณีการใช้งานอีกมากมายซึ่งที่เรายกตัวอย่างเป็นเพียงเศษเสี้ยวของความเป็นไปได้ทั้งหมดเท่านั้น

5. การกำหนดวิธีการบังคับชำระหนี้

AF2.0 ทำให้เราสามารถกำหนดวิธีการบังคับชำระหนี้ได้หลากหลายแบบสำหรับสินทรัพย์ค้ำประกันแต่ละอย่าง เริ่มแรกเลย เราได้เพิ่มระบบการบังคับชำระหนี้แบบสองชั้นซึ่งขึ้นอยู่กับสัดส่วนหนี้ (ความเสี่ยง) ของ positions สองชั้นนี้ได้แก่:

ชั้นที่ 1: การค่อยๆ repurchase ผ่าน Close Factor โดยที่มีเปอเซ็นต์ส่วนลดที่คงที่

การ Repurchase จะสร้างแรงจูงใจโดยการเสนอสินทรัพย์ค้ำประกันของผู้กู้ให้ repurchasers ซื้อโดยมีเปอเซ็นต์ส่วนลด เพื่อให้ repurchasers ให้ความสำคัญกับ positions ที่มีความเสี่ยงมากกว่า ส่วนลดนี้จะเริ่มที่ 5% และจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนถึง 10% เมื่อสัดส่วนหนี้เพิ่มขึ้น

พารามิเตอร์ที่เรียกว่า "Close Factor" จะกำหนดเปอเซ็นต์ของหนี้ใน positions ที่ liquidator สามารถชำระคืนได้ในหนึ่งธุรกรรม นี่หมายความว่า positions แค่บางส่วนจะถูกบังคับชำระหนี้ เพียงพอที่จะทำให้ความเสี่ยงกลับมาปกติ ซึ่งเราเรียกสิ่งนี้ว่า Gentle Liquidation (การค่อยๆบังคับชำระหนี้) หรือในกรณีนี้อาจะเรียกได้ว่าการ Gentle Repurchase ซึ่งเป็นกระบวนการลดค่าใช้จ่ายในการบังคับชำระหนี้สำหรับผู้กู้

การ repurchase นี้เป็นเพียงแค่ชั้นแรกที่จะถูกใช้ถ้าจำเป็นต้องมีการบังคับชำระหนี้ เพราะว่าการ repurchase เป็นทางเลือกที่ถูกที่สุดสำหรับผู้ที่เปิด position แต่ถ้าชั้นนี้ไม่ถูกใช้งาน จะมีชั้นสำรองที่จะถูกนำมาใช้

ชั้นที่ 2: ขายบน DEXs

ถ้าสัดส่วนหนี้ของบัญชีเกินกว่า debt threshold ที่กำหนดไว้ (และยังไม่มี repurchaser เข้ามา) จะมีฟังก์ชั่นสำรองที่จะอนุญาติให้ใครก็ได้ขายสินทรัพย์ค้ำประกันบน DEX เพื่อชำระหนี้คืนบน DEX และรับส่วนแบ่งจากรายได้ วิธีนี้เป็นวิธีที่คล้ายกับการบังคับชำระหนี้ในปัจจุบัน เราจะแชร์พารามิเตอร์สำหรับวิธีเหล่านี้ในอนาคต

Previousแนะนำเกี่ยวกับ Alpaca Finance 2.0NextLeveraged Yield Farming

Last updated 2 years ago

Was this helpful?

ภาพประกอบข้างต้นเป็นตัวอย่างของโมเดลอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมทั้ง 3 แบบของสินทรัพย์กู้ยืมชนิดเดียวกัน

นั้นเป็นวิธีที่ทำให้การปิด positions มีราคาถูกกว่าการบังคับชำระหนี้แบบปกติซึ่งเราได้ สำหรับ AF2.0 เราวางแผนไว้ว่าจะเพิ่มการ repurchase เข้าไปในชั้นที่ 1

โปรดทราบไว้ว่า 80% ของมูลค่าหลังหักส่วนลดจะถูกนำไป buyback & burn โทเค็น ALPACA เพื่อที่จะให้แพลตฟอร์มมีความแข็งแรงในช่วงตลาดขาลง และเพราะว่ารายได้มากถึงครึ่งหนึ่งของโปรโตคอลที่จะถูกนำไปให้โทเค็น ALPACA ผ่านการกระทำของ governance นั้นเป็นมาตรการสำรองที่จะรับรองความปลอดภัยของ LYF positions

💎
การ Repurchase
ใช้อย่างมีประสิทธิภาพบน Automated Vaults ของเราอยู่แล้ว
แผนประกัน