Alpaca Finance
ไทย
ไทย
  • 🧭สารบัญ
  • 🦙Alpaca Finance
  • โปรโตคอลของเรา
    • 🏆ผลิตภัณฑ์ของเรา
    • 📈เป็นส่วนหนึ่งของ Alpaca Finance
      • ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ 6 กลยุทธง่ายๆในการลงทุนกับ Alpaca Finane
      • กลยุทธ์ที่ 1: ถือทรัพย์สินไว้และสร้างผลตอบแทนที่สูงด้วยความเสี่ยงที่ต่ำโดยการ lend และ stake
      • กลยุทธ์ที่ 2: ถือคู่เหรียญเพื่อได้รับผลตอบแทนทบต้นโดยไม่มีการ leverage
      • กลยุทธ์ที่ 3: เพิ่มผลตอบแทนจาก stablecoin ของคุณ
      • กลยุทธ์ที่ 4: สร้างผลตอบแทนเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในตลาดกระทิง (Bull Market)
      • กลยุทธ์ที่ 5: สร้างกำไรจาก Yield Farm ในตลาดหมี (Bear Market)
      • กลยุทธ์ที่ 6: สร้างผลตอบแทนอย่างทวีคูณในทุกๆสภาพตลาดโดยการป้องกันความเสี่ยง
    • 🗺️แผนการทำงาน
    • 🔒ความปลอดภัย
    • 📄ความโปร่งใส (การ audit และ contracts)
    • 🔗ลิงค์
    • 📰สื่อที่ครอบคลุม
    • ❤️การกุศล
    • 🌐พารามิเตอร์สากลของโปรโตคอล
      • ⏫พารามิเตอร์ของ Leveraged Yield Farming
      • 📈โมเดลอัตราดอกเบี้ยกู้ยืม AF1.0
      • 📖พารามิเตอร์ของ Automated Vault
      • 📗พารามิเตอร์ของ Perpetual Futures Exchange
      • 📙พารามิเตอร์ของ AF2.0
  • เกี่ยวกับโทเค็น
    • 📀เหรียญ ALPACA
    • 💰เหรียญ ib
    • ⚖️การจัดสรรรีวอร์ดของ Pool
    • 🔥หลักฐานการเผาเหรียญ
      • รายละเอียดแหล่งที่มาของการเผาเหรียญ
  • Lending
    • 🏦แนะนำเกี่ยวกับ Lending
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • การ Lend และ Stake
      • การถอนสินทรัพย์
  • leveraged yield farming
    • 🚀แนะนำเกี่ยวกับ Leveraged Yield Farming
    • 🏊พารามิเตอร์เฉพาะ Pool
      • PancakeSwap Pools
      • Mdex Pools
      • Biswap Pools
      • SpookySwap Pools (เลิกใช้แล้ว)
      • WaultSwap Pools (เลิกใช้แล้ว)
    • 🧮กลไกของ Leveraged Yield Farming
      • ฟาร์ม PancakeSwap
      • ฟาร์ม Mdex
      • ฟาร์ม Biswap
      • ฟาร์ม SpookySwap (เลิกใช้แล้ว)
      • ฟาร์ม WaultSwap (เลิกใช้แล้ว)
    • 🌊การบังคับชำระหนี้ของ AF1.0 (AF1.0 Liquidation)
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • การเปิด position ยีลด์ฟาร์มด้วยการใช้เลเวอเรจ (Leveraged Yield Farming)
      • การปรับระดับเลเวอเลจ Position
      • การปิด position บางส่วน/ทั้งหมด ใน Leveraged Yield Farming
      • การรับผลตอบแทน
      • การบังคับชำระหนี้ Positions (Liquidate)
  • Automated Vaults
    • ⚙️แนะนำเกี่ยวกับ Automated Vaults
      • กลยุทธ์ Market-Neutral
      • กลยุทธ์ Savings Vault
    • 🧮กลไกของการ Hedge
    • ⏬กลไกการลด Leverage ของ Vault
    • 🔏Automated Vault ส่วนตัว
    • 📈ผลการทดสอบ Backtest
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • ลงทุนใน Automated Vault
      • ดู position การลงทุนใน Vault อัตโนมัติ
      • ถอนการลงทุนจาก Vault อัตโนมัติ
  • Perpetual Futures Exchange
    • 🔮แนะนำเกี่ยวกับ Perpetual Futures Exchange
      • Trader
      • Liquidity Provider
    • 🚀แผนการเปิดตัว
    • 💲โปรแกรมส่วนลดค่าธรรมเนียมการเทรด
    • 🎁โปรแกรมการแนะนำเพื่อน
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • เปิด Leveraged Position
      • จัดการ Leveraged Position
      • ปิด Leveraged Position
      • แลกเปลี่ยนสินทรัพย์
      • ลงทุน & Stake โทเค็น ALP
      • Unstake & ถอนเงินจากโทเค็น
  • Alpaca Finance 2.0
    • 💎แนะนำเกี่ยวกับ Alpaca Finance 2.0
      • Money Market
      • Leveraged Yield Farming
    • 🚀แผนการเปิดตัว
    • ⭐รางวัลสิ่งจูงใจ
    • 🌊การบังคับชำระหนี้ของ AF2.0 (AF2.0 Liquidation)
    • ❗ความเสี่ยง
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้น
      • ฝาก
      • กู้
      • ชำระหนี้
      • ถอน
      • โอนเงินระหว่างบัญชี
      • กลยุทธ์การลูป
  • การกำกับดูแล
    • 🗳️Governance Vault
    • 🍃เกรซซิ่งเรนจ์ (Grazing Range) (แบบใหม่)
    • ⚡การถอนล่วงหน้า
    • 🔎รายละเอียดแหล่งที่มาของผลตอบแทนใน Governance
    • 📝การปรึกษาหารือเรื่องการกำกับดูแลและการโหวต
    • 🗒️ข้อมูลของ AIP (Alpaca Improvement Proposal)
      • AIP-1: การจัดการรางวัล ITAM
      • AIP-2: Governance Vault บน Fantom
      • AIP-3: การรับมือค่าเสียหายจากการถอนเงินล่วงหน้าใน Governance Vault
      • AIP-4.1: การรับมือหนี้เสียที่พึ่งเกิดบน position ของ WaultSwap
      • AIP-4.2: วิธีการกำจัดความเสี่ยงที่จะเกิดหนี้เสียที่เกิดจาก positions ที่เหลืออยู่บน Waultswap
      • AIP-5: การปรับโมเดลอัตราเงินกู้
      • AIP-6.1: การจำกัดการเข้าถึง Automated Vault
      • AIP-6.2: การจำกัดการเข้าถึง Automated Vault
      • AIP-7: การรับมือหนี้เสียที่พึ่งเกิดบน Fantom Network
      • AIP-8.1: การเพิ่มประโยชน์ของ AUSD โดยการเพิ่มสิทธิ์ในการเข้าถึง high-leveraged AVs
      • AIP-8.2: การเพิ่มประโยชน์ของ AUSD โดยการเพิ่มสิทธิ์ในการเข้าถึง high-leveraged AVs
      • AIP-9: การฝากกองทุนการชำระหนี้เข้าไปในพูลเงินฝากในระหว่างการรอ buyback
      • AIP-10: เพิ่มประสิทธิภาพให้กับความชันของอัตราดอกเบี้ยกู้ยืม
      • AIP-11: การปรับค่าธรรมเนียมการพยุงราคาสำหรับ AUSD เพื่อช่วยให้ราคาถูกตรึง
      • AIP-12: การรับมือหนี้เสียที่พึ่งเกิดจากการ depeg ของ stkBNB
      • AIP-13: การนำข้อจำกัด xALPACA ในการลงทุนใน high-leveraged Automated Vaults ออก
      • AIP-14: ปิด LYF positions ที่เหลืออยู่ในพูล stkBNB-BNB เพื่อหลีกเลี่ยงหนี้เสียที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
      • AIP-15.1: สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (Perp, AF2.0)
      • AIP-15.2: วิธีการแจกจ่าย - สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (Perp, AF2.0)
      • AIP-15.3: มูลค่าสิ่งจูงใจสำหรับ Perp - สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (Perp)
      • AIP-15.4: มูลค่าสิ่งจูงใจสำหรับ AF2.0 - สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (AF2.0)
      • AIP-15.5: แหล่งที่มาสำหรับสิ่งจูงใจ - สิ่งจูงใจสำหรับผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะปล่อย (Perp, AF2.0)
      • AIP-16: การปรับอัตราการกู้ยืมที่สูงที่สุดบน Slope3
      • AIP-17: การรับมือโทเค็น ALPACA ส่วนเกินจากสิ่งจูงใจใน AIP-15
      • AIP-18: การนำ Leveraged Yield Farming สำหรับ pools ใน MDEX ออก
      • AIP-19: การใช้งาน Shielded Voting
      • AIP-20: การทำให้โครงสร้างค่าธรรมเนียมการฝากของ AF1.0 สอดคล้องกับของ AF2.0
      • AIP-21.1: การะปรับวิธีการรับมือหนี้เสียจากเหตุการณ์ stkBNB depeg
      • AIP-21.2: การะปรับวิธีการรับมือหนี้เสียจากเหตุการณ์ stkBNB depeg
      • AIP-22: งบการตลาดสำหรับ AF2.0 และ Alperp
      • AIP-23: ปิด Leveraged Yield Farming สำหรับ TUSD
      • AIP-24.1: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่
      • AIP-24.2: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่ - ระยะเวลาการปลดล็อค
      • AIP-24.3: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่ - การโอนย้าย
      • AIP-24.4: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่ - การถอนล่วงหน้า
      • AIP-24.5: การใช้งาน Governance Vault แบบใหม่ - โมเดลการถอนล่วงหน้า
      • AIP-25: การย้ายจาก AF1.0 -> AF2.0
      • AIP-26: การย้าย Governance Vault
      • AIP-27: การอัพเดทแผนประกัน Alpaca
      • AIP-28: การอัพเดทโครงสร้างการโหวต Governance
      • AIP-29.1: การแลกเปลี่ยน BUSD ที่เหลืออยู่ใน AF1.0 เป็น USDT
      • AIP-29.2: คิดค่าธรรมเนียมการแลกเปลี่ยนจากผู้ฝาก BUSD ที่เหลืออยู่
      • AIP-29.3: กำหนดค่าธรรมเนียมการแลกเปลี่ยน
      • AIP-30: ข้อเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ - Stablecoin
      • AIP-31.1: การจัดการทรัพย์สินที่เหลือใน AUSD’s stable swap module
      • AIP-31.2: การจัดการทรัพย์สินที่เหลือใน AUSD’s stable swap module
    • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
      • ล็อค ALPACA ใน Governance Vault
      • การล็อค ALPACA เพิ่ม/การเพิ่มระยะเวลาการล็อค
      • การรับรางวัลจาก Governance Vault
      • การเพิ่มรายการเหรียญโทเค็นใน MetaMask ของคุณ
      • วิธีการโหวต Alpaca Improvement Proposal (AIP)
      • การถอน ALPACA ล่วงหน้าออกจาก Governance Vault
      • การถอน ALPACA จาก Governance บน BNB Chain
      • การถอน xALPACA จาก Governance Vault แบบเก่า
  • Join the herd (Alpacareers)
    • 🚀เรากำลังเปิดรับสมัคร!
  • ALPIES
    • 🌗แนะนำเกี่ยวกับ Alpies
    • 🧑‍🏫การ Bridge Alpies
      • การ Bridge Alpies จาก ETH ไปสู่ BNB Chain
      • การ Bridge Alpies จาก BNB Chain ไปสู่ ETH
    • ⚡การเพิ่ม Leveraged
  • ศูนย์ช่วยเหลือ
    • 👩‍🏫อัลปาก้า อะคาเดมี่ (Alpaca Academy)
      • บทที่ 0: วิธีซื้อ Alpaca และเริ่มรับผลตอบแทนสำหรับมือใหม่ (การให้กู้+การ stake)
      • บทที่ 1: กรณีการใช้งานเฉพาะของ Alpaca Finance - ชอร์ตเพื่อทำกำไร
      • บทที่ 2 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ hedge ด้วยการกู้ยืมสองด้าน (Double-sided Borrowing)
      • บทที่ 3 - ความเสี่ยงการโดนบังคับชำระหนี้ใน Leveraged Yield Farming
      • บทที่ 4 การเปิดและปิด position โดยไม่เสียค่า swap fee
      • บทที่ 5 - ความจริงเกี่ยวกับ Impermanent Loss และสิ่งที่คนส่วนใหญ่เข้าใจผิด
      • แบบทดสอบความรู้ (และรับรางวัล NFTs)
    • 📚บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป
      • เรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์และความปลอดภัยในโลก DeFi
      • Yield Farming และ Liquidity Mining: กลไกขับเคลื่อนการเติบโตของ DeFi
      • การใช้เครื่องมือ DeFi ขั้นสูงเพื่อการสะสมทรัพย์สินให้เติบโตและปลอดภัยด้วย Alpaca Finance
    • ❓คำถามที่พบบ่อย
    • 🧰เครื่องมือที่มีประโยชน์
    • 📘คำศัพท์สำคัญและวิธีการคำนวณ
      • 🧮การคำนวณ APY
      • 📈การคำนวณ กำไร/ขาดทุน
    • ⚠️ข้อความ Error ทั่วไป
    • 💸โอกาสในการหาผลตอบแทนเป็น ALPACA บนแพลตฟอร์มอื่น
  • นักพัฒนา
    • 🐞โปรแกรม Bug Bounty
    • 🎛️การกำหนดค่าโปรโตคอล
    • 💻เชื่อมต่อกับ Alpaca Finance
    • 🏛️คู่มือการ Repurchase AF2.0
    • ⚡คู่มือการ Flashloan AF2.0
  • ผลิตภัณฑ์ในอดีต
    • 💵AUSD (แบบเก่า)
      • 💵แนะนำเกี่ยวกับ AUSD
      • 💹วิธีการเข้าร่วม
      • 💦การบังคับชำระหนี้ของ AUSD (Liquidation)
      • 〰️กลไกการรักษาความเสถียรในราคาของ AUSD (AUSD Price Stability Module)
      • ❗ความเสี่ยง
      • ⏭️คู่มือแบบทีละขั้นตอน
        • เปิด AUSD position
        • การปรับ AUSD Position
        • ปิด AUSD position ทั้งหมด/ปิด AUSD position บางส่วน
        • เพิ่ม/ถอน AUSD-3EPS LP tokens
      • 📔พารามิเตอร์ของ AUSD
    • 🗳️Governance Vault (แบบเก่า)
    • ⚡การถอนล่วงหน้า (แบบเก่า)
    • 🌿เกรซซิ่งเรนจ์ (Grazing Range) (แบบเก่า)
    • 💪Stronk Vault
Powered by GitBook
On this page
  • BNB Chain Pools
  • PancakeSwap Pools
  • MdexSwap Pools
  • BiSwap Pools
  • WaultSwap Pools (เลิกใช้แล้ว)
  • Fantom Pools
  • SpookySwap Pools
  • รายการที่ถูกบังคับชำระหนี้
  • บันทึกเลข TX ที่โดน Liquidate
  • ความเสี่ยงจากการถูกลิควิเดท (liquidation risks)
  • ราคาของโทเค็นต้องลดลงเท่าใดจึงจะเกิดการ liquidate ได้?
  • ตัวอย่างการถูก liquidate
  • การหลีกเลี่ยงการถูก liquidate เพื่อรักษาผลกำไรจากการฟาร์ม
  • PancakeSwap Pools
  • MdexSwap Pools
  • Biswap Pools
  • SpookySwap Pools
  • WaultSwap Pools (เลิกใช้แล้ว)
  • บันทึกธุรกรรม (TX) ที่ถูกบังคับชำระหนี้

Was this helpful?

  1. leveraged yield farming

การบังคับชำระหนี้ของ AF1.0 (AF1.0 Liquidation)

Previousฟาร์ม WaultSwap (เลิกใช้แล้ว)Nextความเสี่ยง

Last updated 1 year ago

Was this helpful?

BNB Chain Pools

(เลิกใช้แล้ว)

Fantom Pools

รายการที่ถูกบังคับชำระหนี้

วันนี้ เราจะมาพูดถึงลิควิเดชั่น (liquidation) อย่างละเอียด และอธิบายคอนเซปเพื่อให้เข้าใจง่าย แต่ก่อนอื่น มาดูคำศัพท์สองสามคำที่เราจะใช้ใน section ถัดไป:

- มูลค่าหนี้ (debt value) ของคุณคือมูลค่าของสินทรัพย์ที่ยืมมา - มูลค่า position ของคุณคือมูลค่าของ farming position ของคุณ ซึ่งเท่ากับหลักประกันของคุณ + สินทรัพย์ที่ยืม + ผลตอบแทน (หรือที่เรียกว่ามูลค่าของโทเค็น LP ของคุณ) - อัตราส่วนหนี้สิน (debt ratio) คือมูลค่าหนี้ของคุณหารด้วยมูลค่า position - มูลค่าสินทรัพย์ (equity value) ของคุณคือมูลค่า position ของคุณลบด้วยมูลค่าหนี้ของคุณ (มูลค่าทั้งหมดข้างต้นจะแสดงในรูปแบบโทเค็นที่ยืมมา)

ความเสี่ยงจากการถูกลิควิเดท (liquidation risks)

ในฐานะอัลปาก้ารุ่นพี่ เรามีหน้าที่ต้องสอนรุ่นน้องเกี่ยวกับความเสี่ยงต่างๆในฟาร์ม ซึ่งความเสี่ยงที่พบได้บ่อยที่สุดคือความเสี่ยงจากการถูกลิควิเดท แล้วความเสี่ยงนี้คืออะไร?

เมื่อคุณเปิด position ที่มีเลเวอเรจได้มากถึง 6 เท่าของเงินที่คุณนำมาฟาร์ม โปรโทคอลจำเป็นต้องทำให้แน่ใจว่าคุณจะสามารถชำระคืนเงินกู้นั้นได้ ดังนั้นจำนวนเงินที่คุณเพิ่มจากเงินทุนของคุณจึงทำหน้าที่เป็นหลักประกัน ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเมื่อคุณสะสมผลตอบแทน (ลบด้วยดอกเบี้ยเงินกู้)

มูลค่าของหลักประกันนั้นจะต้องสูงกว่าจำนวนเงินที่คุณเป็นหนี้ (และเพิ่มตัวเลขเผื่อเข้าไป เพื่อลดความเสี่ยงจากราคาที่เหวี่ยงขึ้นลง) มิฉะนั้นโปรโทคอลอาจปิด position ของคุณเพื่อชำระคืนให้กับผู้ให้กู้หรือที่เรียกว่า ลิควิเดชั่น (liquidation) คุณอยากหลีกเลี่ยงการถูก liquidate เงินมูลค่า 5% ของเงินใน position จะถูกจ่ายให้กับบอทที่ทำหน้าที่บังคับชำระหนี้และนำเงินส่วนที่เหลือไปคืนให้กับผู้ปล่อยกู้

ขอเสริมอีกว่า ลิควิเดชั่นเป็นความเสี่ยงแค่ในบางช่วงเวลาเท่านั้น ส่วนใหญ่คุณจะไม่ต้องกังวลกับการลิควิเดทหลังจากเปิด position เสร็จใหม่ๆ

ถ้าอย่างนั้นคุณต้องระวังมันตอนไหนบ้าง? เนื่องจากคุณฝากโทเค็นคริปโต มูลค่าหลักประกันของคุณจึงมีความผันผวน และเปลี่ยนแปลงได้เมื่อราคาโทเค็นเคลื่อนไหว ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อคุณยืมเงิน คุณก็เหมือนกำลังถือเงินที่คุณนำไปคํ้าประกันไว้และรับผลกำไร (และขาดทุน) ที่อาจเกิดขึ้นจากสินทรัพย์เหล่านั้นในขณะที่ position ของคุณยังคงเปิดอยู่

ตอนนี้ คำศัพท์สำคัญที่เกี่ยวกับหลักประกันของคุณคือมูลค่าสินทรัพย์ (equity value) ซึ่งก็คือมูลค่าสินทรัพย์ที่ต้องมีมากกว่าเกณฑ์เพื่อเลี่ยงการถูกลิควิเดท ถ้าให้เจาะจงคือ เมื่อไหร่ที่อัตราส่วนหนี้สินของคุณเกินเกณฑ์ที่เรียกว่าเกณฑ์การชำระบัญชี (liquidation threshold) position ของคุณอาจถูก liquidate โดย liquidation bot ซึ่งหมายความว่าบอทจะปิด position ของคุณ ชำระหนี้ และคืนจำนวนเงินที่เหลือให้กับคุณ (ในรูปแบบโทเค็นที่ยืมไป)

ทำไมคุณถึงถูก liquidate ที่เกณฑ์การชำระบัญชี? เพราะนั่นคือเมื่อหลักประกันของคุณ (มูลค่าสินทรัพย์ของคุณ หรือ equity value) ลดต่ำพอที่หากมูลค่ายังคงลดลงเรื่อยๆ อาจมีความเสี่ยงที่คุณจะไม่สามารถชำระคืนเงินกู้ของคุณได้ ดังนั้นการ liquidate จึงจำเป็นเพื่อปกป้องผู้ให้กู้และมันเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้ให้กู้มีความมั่นใจในการให้ยืมทรัพย์สินของพวกเขาตั้งแต่แรก เพื่อให้คุณสามารถทำฟาร์มได้อย่างมีกำไร

นั่นคือภาพรวมทั่วไปของ liquidation อย่างไรก็ตาม ในฐานะ leveraged yield farmer และนักลงทุน เรามักกังวลเกี่ยวกับราคาเป็นส่วนใหญ่ เรามาลองดูหัวข้อต่อไปซึ่งก็คือความคาบเกียวของราคาสินทรัพย์และการ liquidation

ราคาของโทเค็นต้องลดลงเท่าใดจึงจะเกิดการ liquidate ได้?

เราได้คำนวณตัวเลขเหล่านี้และสามารถบอกคุณได้! สมมติว่าคุณเปิด position ด้วย TOKEN1-TOKEN2 และยืม TOKEN2 ที่เลเวอเรจ 2x, 2.5x หรือ 3x อัตราส่วนหนี้สินเริ่มต้นของคุณจะอยู่ที่ 50%, 60% และ 66.7% ตามลำดับ เพื่อให้เกิดการ liquidate ราคาของ TOKEN1 เทียบกับ TOKEN2 (TOKEN1/TOKEN2) จะต้องลดลง 61%, 44% และ 31% ตามลำดับ โดยสมมติว่ามีเกณฑ์การชำระบัญชี (liquidation threshold) ที่ 80% (ตารางที่ 1)

นั่นทำให้เข้าใจง่ายขึ้นมากใช่มั้ย? เมื่อโทเค็นที่คุณถือครองมูลค่าลดลงอย่างมาก หลักประกันของคุณมีมูลค่าลดลง และคุณต้องระมัดระวัง liquidation ที่อาจเกิดขึ้น

หลังจากเปิด position ราคาสามารถเคลื่อนไหวและอัตราส่วนหนี้สินของคุณจะเปลี่ยนไป เพียงค้นหาอัตราส่วนหนี้สินใหม่ของคุณในกราฟด้านล่างเพื่อดูว่า (TOKEN1/TOKEN2) จำเป็นต้องลดลงเท่าใดก่อนที่จะถูก liquidate นอกจากนี้เรายังให้ตัวเลขเหล่านี้ให้กับคุณหากคุณวางเมาส์ไว้เหนือแถบสีเขียวที่เรียกว่า "เซฟตี้บัฟเฟอร์" ในส่วน "position ของคุณ" เพื่อให้คุณสามารถติดตามความเสี่ยงจากการถูก liquidate ได้แบบเรียลไทม์

สำหรับการทำ leveraged yield farming ด้วยสินทรัพย์เดี่ยว (single-asset) liquidation ก็อาจเกิดขึ้นได้เช่นกัน สมมติว่าคุณเปิดฟาร์มสินทรัพย์เดียว (single-asset farm) ของ CAKE และยืม Token2 ที่ 1.5x, 2x และ 2.5x เลเวอเรจ เพื่อให้เกิดการ liquidate ราคาของ CAKE เทียบกับโทเค็นที่คุณยืม (CAKE/Token2) จะต้องลดลง 58%, 38% และ 25% ตามลำดับ (ดูตารางและกราฟด้านล่าง)

ตัวอย่างการถูก liquidate

  1. อลิซเปิด position สำหรับการฟาร์มด้วยเลเวอเรจ 3x บนพูล BNB-BUSD

  2. เธอนำ 10 BNB ของเธอมาฟาร์ม (มูลค่า 3000 BUSD) ซึ่งก็คือมูลค่าสินทรัพย์ของเธอ (equity value)

  3. เธอยืมเงิน 6000 BUSD (3x ของที่เธอนำมา)

  4. จากนั้นโปรโทคอลจะแปลงโทเค็นที่ฝากและยืมทั้งหมดเป็นสัดส่วน 50:50 สำหรับการสร้างโทเค็น LP สำหรับการทำฟาร์ม: 15 BNB + 4500 BUSD หรือมูลค่า 30 BNB ซึ่งก็คือมูลค่า position ของเธอ (ในความเป็นจริง มันจะต่ำกว่าเล็กน้อยเนื่องจากจะมีผลกระทบของราคา (price impact) และค่าธรรมเนียมการซื้อขาย exposure ของ Alice คือ long 15 BNB)

  5. อัตราส่วนหนี้สินของอลิซ (หนี้ / มูลค่า position) คือ ~66% (10 BNB / 30 BNB)

โปรดทราบว่าตัวอย่างนี้ไม่ได้คำนึงผลตอบแทนที่ได้รับจากการทำ Yield Farmingและค่าธรรมเนียมการซื้อขาย ซึ่งจะเพิ่มมูลค่าให้กับ position ของอลิซและทำให้ position ของเธอปลอดภัยจากการถูกลิควิเดท (liquidate) ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ตัวอย่างที่ยกมาไม่ได้คำนึงถึงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่จะเพิ่มมูลค่าหนี้สินใน position ทำให้อัตราส่วนหนี้สินของเธอสูงขึ้น

การหลีกเลี่ยงการถูก liquidate เพื่อรักษาผลกำไรจากการฟาร์ม

ต่อไปนี้คือสิ่งที่คุณสามารถทำได้เพื่อหลีกเลี่ยงการถูก liquidate

  • หมั่นตรวจสอบเซฟตี้บัฟเฟอร์ของคุณ: บัฟเฟอร์ความปลอดภัยในแดชบอร์ดตำแหน่งของคุณจะบอกคุณว่าคุณเข้าใกล้การถูก liquidate มากแค่ไหน เมื่อถึงศูนย์ position ของคุณจะถูก liquidate คุณยังสามารถเลื่อนดูเพื่อดูว่าราคาของสินทรัพย์หลักของคุณต้องลดราคาเท่าใดเพื่อให้เซฟตี้บัฟเฟอร์ของคุณเหลือศูนย์

  • เพิ่มหลักประกัน: หากคุณเห็นเซฟตี้บัฟเฟอร์ลดลง คุณสามารถเลือกเพิ่มหลักประกัน ซึ่งเป็นปุ่มทางด้านขวาของ position ที่เปิดอยู่ เพื่อเพิ่มเซฟตี้บัฟเฟอร์และหลีกเลี่ยงการถูก liquidate

  • ฟาร์มสินทรัพย์ที่มีความผันผวนตํ่า: หากคุณกำลังทำฟาร์ม stablecoin การถูก liquidate ไม่น่าเป็นไปได้อย่างยิ่ง ยิ่งไปกว่านั้น การทำฟาร์มด้วยสินทรัพย์ที่มี market cap สูงที่และมีความผันผวนน้อยกว่า เช่น BTCB จะมีความปลอดภัยกว่าโทเค็นใหม่ที่มีมูลค่าต่ำ แน่นอนสิ่งที่คุณต้องแลกคือ APY ที่ตํ่ากว่า

PancakeSwap Pools

พูล

เพดานหนี้

ค่า Liquidation

มูลค่าที่จะส่งคืนให้ผู้ฟาร์ม (% จากมูลค่าของ position)

ALPACA-BUSD

83.33%

5%

11.6%

BUSD-ALAPCA

83.33%

5%

11.6%

CAKE

80%

5%

15%

CAKE-USDT

80%

5%

15%

CAKE-BNB

83.3%

5%

11.6%

BTCB-BNB

83.3%

5%

11.6%

BTCB-BUSD

83.3%

5%

11.6%

CAKE-BUSD

83.3%

5%

11.6%

ETH-BNB

83.3%

5%

11.6%

BNB-BUSD

83.3%

5%

11.6%

BNB-USDT

83.3%

5%

11.6%

ADA-BNB

83.3%

5%

11.6%

DOT-BNB

83.3%

5%

11.6%

UNI-BNB

83.3%

5%

11.6%

LINK-BNB

83.3%

5%

11.6%

XVS-BNB

83.3%

5%

11.6%

TRX-BNB

83.3%

5%

11.6%

AXS-BNB

83.3%

5%

11.6%

SUSHI-ETH

83.3%

5%

11.6%

TUSD-BUSD

90%

5%

5%

VAI-BUSD

90%

5%

5%

USDC-BUSD

90%

5%

5%

USDC-USDT

90%

5%

5%

DAI-BUSD

90%

5%

5%

USDT-BUSD

92%

5%

3%

BMON-BUSD

70%

5%

25%

ETH-BTCB

83.3%

5%

11.6%

SPS-BNB

80%

5%

15%

THG-BNB

70%

5%

25%

ETH-USDC

83.3%

5%

11.6%

HIGH-BUSD

70%

5%

25%

USDT-USDC

90%

5%

5%

CAKE-USDC

80%

5%

15%

XWG-USDC

70%

5%

25%

TINC-BNB

70%

5%

25%

stkBNB-BNB

90%

5%

5%

PSTAKE-BUSD

70%

5%

25%

MdexSwap Pools

พูล

เพดานหนี้

ค่า Liquidation

มูลค่าที่จะส่งคืนให้ผู้ฟาร์ม (% จากมูลค่าของ position)

BTCB-USDT

83.33%

5%

11.6%

ETH-USDT

83.33%

5%

11.6%

MDX-BUSD

83.33%

5%

11.6%

BNB-BUSD

83.33%

5%

11.6%

BTCB-ETH

83.33%

5%

11.6%

BNB-BTCB

83.33%

5%

11.6%

Biswap Pools

พูล

เพดานหนี้

ค่า Liquidation

มูลค่าที่จะส่งคืนให้ผู้ฟาร์ม (% จากมูลค่าของ position)

BNB-BSW

83.33%

5%

11.6%

BNB-USDT

83.33%

5%

11.6%

USDT-BSW

83.33%

5%

11.6%

BNB-BUSD

83.33%

5%

11.6%

ETH-USDT

83.33%

5%

11.6%

BTCB-USDT

83.33%

5%

11.6%

ETH-BNB

83.33%

5%

11.6%

BNB-BTCB

83.33%

5%

11.6%

GQ-BUSD

70%

5%

25%

BNB-USDC

83.33%

5%

11.6%

SpookySwap Pools

พูล
เพดานหนี้
ค่า Liquidation
มูลค่าที่จะส่งคืนให้ผู้ฟาร์ม (% จากมูลค่าของ position)

FTM-BOO

83.33%

5%

11.6%

FTM-USDC

83.33%

5%

11.6%

FTM-wETH

83.33%

5%

11.6%

FTM-DAI

83.33%

5%

11.6%

FTM-fUSDT

83.33%

5%

11.6%

FTM-MIM

83.33%

5%

11.6%

FTM-BTC

83.33%

5%

11.6%

FTM-ALPACA

83.33%

5%

11.6%

USDC-FTM

83.33%

5%

11.6%

USDC-TUSD

90.00%

5%

5%

ALPACA-FTM

70.00%

5%

25%

BOO-USDC

83.33%

5%

11.6%

WaultSwap Pools (เลิกใช้แล้ว)

พูล

เพดานหนี้

ค่า Liquidation

มูลค่าที่จะส่งคืนให้ผู้ฟาร์ม (% จากมูลค่าของ position)

ALPACA-USDT

80%

5%

15%

USDT-ALPACA

70%

5%

25%

ALPACA-BNB

80%

5%

15%

BNB-ALPACA

70%

5%

25%

WAULTx-BNB

70%

5%

25%

MATIC-BNB

80%

5%

15%

WEX-BNB

80%

5%

15%

WEX-USDT

80%

5%

15%

BTCB-BUSD

83.33%

5%

11.6%

ETH-BUSD

83.33%

5%

11.6%

BTCB-USDT

83.33%

5%

11.6%

ETH-USDT

83.33%

5%

11.6%

BTCB-ETH

83.33%

5%

11.6%

BNB-BUSD

83.33%

5%

11.6%

BETH-ETH

90%

5%

5%

USDT-BUSD

90%

5%

5%

TUSD-USDT

90%

5%

5%

WUSD-BUSD

90%

5%

5%

บันทึกธุรกรรม (TX) ที่ถูกบังคับชำระหนี้

คุณสามารถดูบันทึกธุรกรรมที่ถูกบังคับชำระหนี้ในลิงค์ด้านล่าง:

BNB Chain

  • Position ที่กู้ USDC: TBA

Fantom

  • Position ที่กู้ FTM: TBA

  • Position ที่กู้ USDC: TBA

  • Position ที่กู้ ALPACA: TBA

(หากต้องการดูตัวเลขเหล่านี้ด้วยระดับเลเวอเรจและเกณฑ์การชำระบัญชีอื่นๆ ให้ดาวน์โหลดของเรา และไปที่ sheet "LP Farming Liquidation" และลองใส่ข้อมูลที่คุณต้องการ)

(สำหรับระดับเลเวอเรจอื่นๆ และเกณฑ์การชำระบัญชี (liquidation threshold) คณุสามารถใช้ของเรา โดยไปที่ sheet “Single-asset Farming Liquidation”)

หากถึงจุดที่ ราคา BNB ลดลง > 36% (คำนวณโดยใช้) อัตราส่วนหนี้สินของอลิซจะเกิน 83.3% (ซึ่งก็คือเกณฑ์การชำระบัญชี (liquidation threshold) สำหรับคู่ BNB-BUSD) liquidation bot จะคอล smart contract เพื่อปิด position ชำระคืนเงินกู้ และคืนทรัพย์สินที่เหลือไปยังกระเป๋าเงินของเธอ

Position ที่กู้ ALPACA:

Position ที่กู้ BNB:

Position ที่กู้ BUSD:

Position ที่กู้ USDT:

Position ที่กู้ TUSD:

Position ที่กู้ BTCB:

Position ที่กู้ ETH:

PancakeSwap Pools
MdexSwap Pools
BiSwap Pools
WaultSwap Pools
SpookySwap Pools
บันทึกเลข TX ที่โดน Liquidate
เครื่องคำนวณผลตอบแทน
เครื่องคำนวณ
เครื่องคำนวณผลตอบแทน
คลิกที่นี่
คลิกที่นี่
คลิกที่นี่
คลิกที่นี่
คลิกที่นี่
คลิกที่นี่
คลิกที่นี่
🌊
ตารางที่ 1 - Yield Farming Liquidation Treshold
ตารางที่ 2 - Single-asset Farming Liquidation Threshold
Page cover image